简体中文
繁體中文
English
Pусский
日本語
ภาษาไทย
Tiếng Việt
Bahasa Indonesia
Español
हिन्दी
Filippiiniläinen
Français
Deutsch
Português
Türkçe
한국어
العربية
บทคัดย่อ:แอพตรวจสอบโบรกเกอร์ WikiFX จะพาทุกคนมาดูการจัดอันดับโบรกเกอร์ (Broker) ของตลาดการเทรดฟอเร็กซ์ (Forex) เพื่อที่จะสามารถตรวจสอบหรือพิจารณาโบรกเกอร์ดีได้ และมีแนบข้อมูลอื่นๆอีกด้วย ซึ่งหลายๆอย่างนักลงทุนสามารถตรวจสอบข้อมูลเชิงลึกได้บนแอพตรวจสอบโบรกเกอร์ (แอพ WikiFX) เพราะ WikiFX เป็นแอพที่เอาไว้ตรวจสอบโบรกเกอร์โดยเฉพาะ
1)OANDA
สำหรับโบรกเกอร์อันดับแรกจะเป็นใครไปไม่ได้เลยนอกซะจาก OANDA ซึ่งเป็นโบรกเกอร์ที่ก่อตั้งมาอย่างยาวนาน และมีความน่าเชื่อถือเป็นอันดับต้นๆของการจัดอันดับ
OANDA มีข้อดีคือ มีความน่าเชื่อถือ และได้รับใบอนุญาตจากหลายประเทศ แถมโปรแกรมเทรดมีความโดดเด่นและหลากหลาย
คะแนน : 9.4/10
ที่จดทะเบียน : ออสเตรเลีย
การกำกับดูแล : ASIC FCA FSA NFA IIROC MAS
ค่าสเปรเฉลี่ย :
การเยี่ยมชมสำนักงาน : https://survey.wikifx.com/th_th/197121f484.html
2)FOREX.com
ส่วนอันดับที่สองก็ คือ โบรกเกอร์ FOREX.com เป็นอีกหนึ่งโบรกเกอร์ที่ก่อตั้งมาอย่างยาวนานไม่แพ้อันดับหนึ่ง FOREX.com ก็เป็นอีกหนึ่งโบรกเกอร์ที่มีความน่าเชื่อถือสูงในอันดับต้นๆของวงการโบรกเกอร์เช่นกัน เนื่องจากมีใบอนุญาตจากหลากหลายประเทศที่เข้ามารองรับอีกด้วย
ข้อดีของ FOREX.com คือ มีหน้าตาเว็บที่เรียบง่าย มีโปรแกรมสำหรับช่วยเทรดอย่างหลากหลาย ทำให้การเทรดแต่ละครั้งของนักลงทุนเป็นไปได้อย่างง่ายดาย
ข้อเสียของ FOREX.com ก็คงจะเป็น ช่องทางการฝาก-ถอนที่ไม่หลากหลาย เว็บไซต์นั้นไม่รองรับภาษาไทย การฝากถอนเงินไม่มีธนาคารของประเทศไทย และมีค่าสเปรดที่สูง จึงไม่เหมาะกับนักลงทุนรายย่อยสักเท่าไหร่นัก
แต่ FOREX.com มีความเสี่ยงคือใบอนุญาตนอกกรอบ และในช่วงระยะเวลา 3 เดือนที่ผ่านมาทาง WikiFX ได้รับร้องเรียนจากนักลงทุนเกี่ยวกับพฤติกรรมของโบรกเกอร์นี้ โปรดใช้พิจารณาในการเลือกสรรโบรกเกอร์
คะแนน : 9.33/10
จดทะเบียน : สหรัฐอเมริกา
การกำกับดูแล : ASIC FCA FSA NFA IIROC CIMA MAS
ค่าสเปรดเฉลี่ย : 1.96%
การเยี่ยมชมสำนักงาน : https://survey.wikifx.com/th_th/944302aae4.html
3)FXCM
FXCM เป็นโบรกเกอร์ที่ขึ้นชื่อในเรื่องของความมั่นคงในการเงินสูง เนื่องจากเป็นผู้นำในเรื่องของการเทรด และมีทรัพย์สินรวมอยู่ในการเทรดมากกว่า 3000 ล้านบาทต่อปีเลยทีเดียว
ข้อดีของ FXCM คือ มีความรัดกุมของข้อมูล ค่าสเปรดนั้นสบายๆไม่สูงมาก แถมนักลงทุนสามารถเทรดได้ทั้งบนบราวเซอร์และสมาร์ทโฟน
FXCM มีความเสี่ยงคือ ในช่วงระยะเวลา 3 เดือนที่ผ่านมาทาง WikiFX ได้รับร้องเรียนจากนักลงทุนเกี่ยวกับพฤติกรรมของโบรกเกอร์นี้ โปรดใช้พิจารณาในการเลือกสรรโบรกเกอร์
คะแนน : 9.20 / 10
จดทะเบียน : ออสเตรเลีย
การกำกับดูแล : ASIC FCA
ค่าสเปรดเฉลี่ย : 1.25%
การเยี่ยมชมสำนักงาน : https://survey.wikifx.com/th_th/588088290d.html
4)Hantec
Hantec เป็นอีกหนึ่งโบรกเกอร์ที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูง เนื่องจากมีความหลากหลายของเครื่องมือทางการเงิน และมีแพลตฟอร์มตัวชี้วัดทางเทคนิคจำนวนมากรวมถึงการบริการรับประกันความเสี่ยงที่รัดกุม และใบอนุญาตรับรองอีกหลากหลายประเทศ จึงทำให้ลูกค้าไว้วางใจเลือกใช้บริการ Hantec นอกจากนี้ยังใช้เวลาไม่นานในการเปิดบัญชีและเริ่มทำการซื้อขายกับตลาด Hentec
ข้อดีของ Hantec มีบัญชีทดลองให้สำหรับผู้ที่เป็นมือใหม่ มีโปรโมชั่นมากมายเพื่อตอบแทนลูกค้า
ข้อเสียของ Hantec เว็บไซต์ไม่มีภาษาไทยรองรับ การฝาก-ถอน ไม่สามารถฝาก-ถอนกับธนาคารของประทศไทยได้
คะแนน : 9.08 /10
จดทะเบียน : นิวซีแลนด์
การกำกับดูแล : ASIC FCA FSA CGSE FMA VFSC
ค่าสเปรดเฉลี่ย : 1.82%
การเยี่ยมชมสำนักงาน : https://survey.wikifx.com/th_th/842274ad37.html
5) Interractive Brokers (IB)
IB เป็นอีกหนึ่งโบรกเกอร์ที่มีความน่าเชื่อถือสูง เนื่องจากมีใบอนุญาตจากหลากหลายประเทศรับรองให้ IB มีข้อดี คือ มีการซื้อขายที่ต้นทุนต่ำ ค่าธรรมเนียมต่ำ และมีแพล็ตฟอร์มที่เข้าใจได้อย่างง่ายดาย แต่ในทางกลับกัน IB ก็มีข้อเสียคือ สามารถฝากและถอนเงินผ่านการโอนงินของธนาคารเท่านั้น
IB มีความเสี่ยงคือ ใบอนุญาต SFC ถูกเพิกถอน ใบอนุญาต ASIC และ NFA ได้ละเมิดเกินขอบเขตที่กำหนด และ ซอฟต์แวร์ที่ทางโบรกเกอร์ใช้ไม่ใช่ซอฟต์แวร์ MT4 ใช้พิจารณาในการเลือกตัดสินใจ
คะแนน : 9.02 /10
จดทะเบียน : ฮ่องกง
การกำกับดูแล : ASIC FCA FSA SFC
การเยี่ยมชมสำนักงาน : https://survey.wikifx.com/th_th/2499079c05.html
6) CMC MARKETS
CMC MARKETS เป็นอีกหนึ่งโบรกเกอร์ที่มีความน่าเชื่อถือสูง พวกเขาทุ่มเทให้กับลูกค้าของพวกเขาอย่างดีในทุกๆครั้ง ข้อดีของ CMC MARKETS คือ มีความปลอดภัยทางการเงินสูง ไม่มีข้อจำกัดในการฝากเงิน สามารถฝากเงินได้โดยการใช้บัตรเครดิตของลูกค้าเลย สำหรับข้อเสียของ CMC MARKERTS คือ เว็บไซต์ Support ภาษาไทยได้ยังไม่เต็มที่
CMC MARKETS มีความเสี่ยงคือ ใบอนุญาต ASIC ได้มีการละเมิดสิทธิ์เกิดขอบเขตที่กำหนด และ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ไม่ใช่ซอฟต์แวร์ MT4 โปรดใช้พิจารณาในการเลือกตัดสินใจ
คะแนน : 8.99 / 10
จดทะเบียน : ออสเตรเลีย
การกำกับดูแล : FCA FMA BaFin BDF IIROC MAS
การเยี่ยมชมสำนักงาน : https://survey.wikifx.com/th_th/5762404f20.html
7) Rakuten
อันดับที่เจ็ด คือ Rakuten เป็นอีกหนึ่งโบรกเกอร์ที่ที่มีความโดดเด่นในเรื่องการเทรดเลยก็ว่าได้ เนื่องจากทางโบรกเกอร์นี้ได้มีบัญชีที่แตกต่างกันสองประเภทเพื่อให้เหมาะสมกับตัวผู้ลงทุนเอง โดยข้อดีของ Rakuten คือสามารถรับโอนเงินได้ด้วยบัตรเครดิตและบัตรเดบิต แถมยังสามารถโอนเงินผ่านทางธนาคารในประเทศและต่างประเทศได้อีกด้วย สำหรับข้อเสียของ Rukuten คือ เว็บไซต์ยังไม่ Support ภาษาไทยดีเท่าที่ควร โบรกเกอร์มีการโต้ตอบกับลูกค้าช้าเกินไป
Rukuten มีความเสี่ยงคือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ไม่ใช่ซอฟต์แวร์ MT4 โปรดใช้พิจารณาในการเลือกตัดสินใจ
คะแนน : 8.97 / 10
จดทะเบียน : ฮ่องกง
การกำกับดูแล : ASIC FSA SFC
การเยี่ยมชมสำนักงาน : https://survey.wikifx.com/th_th/281141dafb.html
8) XM
XM เป็นอีกหนึ่งโบรกเกอร์ที่จะอยู่อันดับต้นๆของการจัดอันดับทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความปลอดภัย ความน่าเชื่อถือ หรือแม้กระทั่งค่าสเปรดที่มีความต่ำมาก ทำให้ XM เป็นอีกหนึ่งโบรกเกอร์ที่มีนักลงทุนเลือกเทรดกันเป็นอย่างมาก แถม XM ยังมีช่องทาง Support คนไทยอย่างดีอีกด้วย ข้อดีของ XM คือ เว็บไซต์มีภาษาไทยรองรับอย่างเต็มที่ สามารถฝาก-ถอนได้ที่ธนาคารของประเทศไทยเลย ไม่มีค่าธรรมเนียมทั้งตอนฝากและถอนเงิน ส่วนข้อเสียของ XM คือ ไม่มี Copytrade มี Leverage สูงสุดแค่ 1:888
คะแนน : 8.85 / 10
จดทะเบียน : สหราชอาณาจักร
การกำกับดูแล : ASIC CYSEC IFSC FSA
ค่าเฉลี่ยสเปรด : 1.75%
การเยี่ยมชมสำนักงาน : https://survey.wikifx.com/th_th/5323866aa0.html
9)Plus500
Plus500 เป็นอีกหนึ่งโบรกเกอร์ที่ได้รับความไว้วางใจจากเหล่านักลงทุนเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีความเข้มงวดในด้านการปลอดภัยรวมถึงการบริหารเงินทุนของเหล่าลูกค้า และนอกำจากนี้ยังมีการรับประกันการหยุดขาดทุนซึ่งเป็นผลดีต่อการบริหารความเสี่ยงอีกด้วย
ข้อดีของ Plus500 คือมีการฝากถอนได้หลากหลายวิธี มีซอฟต์แวร์ที่เข้าใจง่ายและชัดเจน ซื้อขายผ่านสมาร์ทโฟนได้ ต้นทุนและค่าธรรมเนียมค่ำ ส่วนข้อเสียของ Plus500 คือ มีการโต้ตอบกับเหล่านักลงทุนช้า เว็บไซต์ไม่มีการรับรองภาษาไทย การฝาก-ถอนเงินยังไม่ Suport ธนาคารประเทศไทยเท่าที่ควร
Plus 500 มีความเสี่ยงคือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ไม่ใช่ซอฟต์แวร์ MT4 โปรดใช้พิจารณาในการเลือกตัดสินใจ
คะแนน : 8.83 / 10
จดทะเบียน : สหราชอาณาจักร
การกำกับดูแล : ASIC CYSEC FCA FMA MAS
การเยี่ยมชมสำนักงาน : https://survey.wikifx.com/th_th/295939c039.html
10)CLSA Premium
CLSA Premium เป็นอีกหนึ่งโบรกเกอร์ที่มีความปลอดภัยสูง และมีความน่าเชื่อถือเป็นอย่างมาก มีการดูแลเงินทุนของลูกค้าเป็นอย่างดี และยังมีแพลตฟอร์มในการเทรดอีกหลากหลายแบบ นอกจากนี้ CLSA Premium ยังสามารถให้ลูกค้าซื้อขายผ่านสมาร์ทโฟนได้เลย อีกด้วย
ส่วนข้อดีของ CLSA Premiumคือ สามารถซื้อขายผ่านสาร์ทโฟนได้เลย ฝาก-ถอนเงินได้ผ่านธนาคารและสมาร์ทโฟน มีค่าธรรมเนียมที่ต่ำ ส่วนข้อเสียของ CLSA Premium คือ เว็บไซต์ไม่รองรับภาษาไทย คนไทยไม่สามารถฝาก-ถอนเงินที่ธนาคารของประเทศไทยได้
CLSA Premium มีความเสี่ยงคือ ใบอนุญาต FSPR ได้กำกับดูแลเกินขอบเขตของการดูแล และซอฟต์แวร์ที่ใช้ไม่ใช่ซอฟต์แวร์ MT4 ใช้พิจารณาในการตัดสินใจเลือกสรร
คะแนน : 8.76 /10
จดทะเบียน : ฮ่องกง
การกำกับดูแล : ASIC FMA SFC
ข้อจำกัดความรับผิดชอบ:
มุมมองในบทความนี้แสดงถึงมุมมองส่วนตัวของผู้เขียนเท่านั้นและไม่ถือเป็นคำแนะนำในการลงทุน สำหรับแพลตฟอร์มนี้ไม่รับประกันความถูกต้องครบถ้วนและทันเวลาของข้อมูลบทความ และไม่รับผิดชอบต่อการสูญเสียใด ๆ ที่เกิดจากการใช้ข้อมูลในบทความ
VT Markets
ATFX
FXTM
FBS
XM
IC Markets Global
VT Markets
ATFX
FXTM
FBS
XM
IC Markets Global
VT Markets
ATFX
FXTM
FBS
XM
IC Markets Global
VT Markets
ATFX
FXTM
FBS
XM
IC Markets Global