简体中文
繁體中文
English
Pусский
日本語
ภาษาไทย
Tiếng Việt
Bahasa Indonesia
Español
हिन्दी
Filippiiniläinen
Français
Deutsch
Português
Türkçe
한국어
العربية
บทคัดย่อ:ผลการศึกษาได้ชี้ชัดว่า อุณหภูมิโลกที่เพิ่มขึ้น 1 องศา แต่ละครั้งสามารถเชื่อมโยงกับการลดลง 12% ใน GDP โลก นับได้ว่าเป็นมูลค่าที่สูญเสียทางธุรกิจอย่างมหาศาลเลยทีเดียว
ผลการศึกษาได้ชี้ชัดว่า อุณหภูมิโลกที่เพิ่มขึ้น 1 องศา แต่ละครั้งสามารถเชื่อมโยงกับการลดลง 12% ใน GDP โลก นับได้ว่าเป็นมูลค่าที่สูญเสียทางธุรกิจอย่างมหาศาลเลยทีเดียว
ปัญหาโลกร้อน ทะลุพิกัดจนต้องใช้คำว่าโลกเดือด เป็นปัญหาใหญ่ระดับโลก ซึ่งทั่วโลกต่างออกมารับมือกันอย่างหนักหน่วง เพราะหลายประเทศเริ่มได้รับผลกระทบทั้งชีวิต ทรัพย์สิน และเศรษฐกิจที่โลกเดือดได้ฟาดใส่อย่างแรง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ ได้รายงานใหม่การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจมหภาคจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ประมาณการว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นมากกว่าการประมาณการครั้งก่อนถึงหกเท่า
ผลการศึกษาได้ชี้ชัดว่า อุณหภูมิโลกที่เพิ่มขึ้น 1 องศา แต่ละครั้งสามารถเชื่อมโยงกับการลดลง 12% ใน GDP โลก นับได้ว่าเป็นมูลค่าที่สูญเสียทางธุรกิจอย่างมหาศาลเลยทีเดียว นอกจากนี้ยังมีรายงานของสำนักงานวิจัยเศรษฐกิจแห่งชาติ (NBER) ระบุว่า ต้นทุนทางสังคมของคาร์บอน อาจอยู่ที่ประมาณ 1,056 ดอลลาร์สหรัฐต่อเมตริกตันของการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งสูงกว่าประมาณการครั้งก่อนมาก ซึ่งอยู่ระหว่าง 51 ถึง 190 ดอลลาร์ต่อเมตริกตัน
สำหรับการปล่อยก๊าซคาร์บอนทั่วโลกในปี 2566 อยู่ที่ประมาณ 37.55 พันล้านตัน สอดคล้องกับ Statista นักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ว่าอุณหภูมิจะสูงขึ้น 3 องศาภายในสิ้นศตวรรษนี้ เนื่องจากมีการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรายงานของ NBER ระบุว่า จะทำให้ ผลผลิตทุน และการบริโภคลดลงอย่างรวดเร็วเกิน 50% ภายในปี 2100
“นักเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ได้มีการรายงาน อีกว่า ยังคงมีการเติบโตทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นบ้าง แต่ภายในสิ้นศตวรรษนี้ ผู้คนอาจจะยากจนลงกว่าที่เคยเป็นถึง 50% หากไม่เป็นเช่นนั้น เพื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นอกจากนี้ยังมีการนำเสนอผลวิจัย และได้ออกมาเตือนว่า อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นเช่นนี้จะนำไปสู่การลดลงอย่างรวดเร็วของผลผลิต ทุน และการบริโภคเกินกว่า 50% ภายในปลายศตวรรษนี้”
จากการที่โลกเดือดมากขึ้นประเทศไทยถือว่ามีความเปราะบางสูงต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เนื่องจากไทยเราพึ่งพาภาคเกษตรกรรมและการท่องเที่ยวรวมกันประมาณ 25% ของ GDP นั้น เป็นภาคเศรษฐกิจที่มีอ่อน และมีความเสี่ยงต่อผลกระทบจากโลกร้อนเป็นอย่างมาก
ขอบคุณข้อมูลจาก springnews
อ่านข่าวสาร Forex ทั่วโลกเพิ่มเติมคลิกเลย :https://www.wikifx.com/th/original.html?source=tso4
คุณสามารถตรวจสอบใบอนุญาตโบรกเกอร์ Forex และอ่านรีวิวข้อมูลต่าง ๆ ได้ง่าย ๆ ผ่านแอป WikiFX เพียงแค่ไปค้นหาชื่อก็เจอข้อมูล ใครที่อยากได้ความรู้ เทคนิค กลยุทธ์การเทรด หรือการวิเคราะห์แนวโน้มตลาด ก็สามารถเข้ามาอ่านได้ อีกทั้งยังมีบริการ EA VPS บนแอป WikiFX อีกด้วย แอปเดียวที่จบครบเรื่อง Forex ดาวน์โหลดฟรี โหลดเลยตอนนี้จะพลาดได้ไง!
ข้อจำกัดความรับผิดชอบ:
มุมมองในบทความนี้แสดงถึงมุมมองส่วนตัวของผู้เขียนเท่านั้นและไม่ถือเป็นคำแนะนำในการลงทุน สำหรับแพลตฟอร์มนี้ไม่รับประกันความถูกต้องครบถ้วนและทันเวลาของข้อมูลบทความ และไม่รับผิดชอบต่อการสูญเสียใด ๆ ที่เกิดจากการใช้ข้อมูลในบทความ
นโยบายภาษีชุดใหม่ของทรัมป์ที่ประกาศเมื่อ “วันปลดปล่อย” ได้จุดชนวนความตึงเครียดทางเศรษฐกิจอีกครั้ง โดยการขึ้นภาษีเกิน 25% อาจเร่งเงินเฟ้อและซ้ำเติมตลาดแรงงาน นักวิเคราะห์คาดว่าเฟดจะลดดอกเบี้ยลง 1.25% ภายในปีนี้ ขณะเดียวกัน รัฐบาลใช้รายได้จากภาษีเป็นเครื่องมือทั้งเศรษฐกิจและการเมือง
บทความนี้สำรวจผลกระทบของแผ่นดินไหวต่อค่าเงินและตลาดการเงินทั่วโลก ผ่านกรณีศึกษาในญี่ปุ่น อินเดีย เม็กซิโก และไทย ชี้ให้เห็นว่าตลาดมักตอบสนองด้วยความวิตกในระยะสั้น ก่อนจะปรับตัวตามข้อมูลพื้นฐาน นักเทรดสามารถใช้ช่วงเวลานี้เป็นโอกาสในการทำกำไร หากวิเคราะห์สถานการณ์ได้อย่างแม่นยำ
นโยบายภาษีของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ก่อให้เกิดความกังวลในระดับโลก โดยเฉพาะการขึ้นภาษีนำเข้าในอัตราสูง นักวิเคราะห์เตือนว่าอาจกระทบต่อการเติบโตของเศรษฐกิจทั้งในสหรัฐฯ และทั่วโลก JPMorgan และ Capital Economics ชี้ว่านโยบายนี้อาจนำไปสู่ภาวะถดถอย ขณะที่ Wells Fargo คาดว่า Fed อาจต้องผ่อนคลายนโยบายการเงินในอนาคต
รีวิวโบรกเกอร์ CMCMarkets
Trive
FBS
Saxo
XM
OANDA
GO MARKETS
Trive
FBS
Saxo
XM
OANDA
GO MARKETS
Trive
FBS
Saxo
XM
OANDA
GO MARKETS
Trive
FBS
Saxo
XM
OANDA
GO MARKETS